หน้าหลัก
เทคโนโลยี
สุขศึกษา
ฟิสิกส์
ภาษาอังกฤษ
เคมี
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
สิ่งที่ได้รับ
๑) ด้านความรู้
การใช้คำ กวีใช้คำที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่นสะดุดความสนใจ
๑.๑)
เลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
๑.๒) การเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ
๑.๓) ภาพพจน์
อ่านต่อ...
บทวิเคราะห์
ด้านกลวิธี การแต่ง
1.
การใช้คำ
กวีใช้คำที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่นสะดุดความสนใจมีการเลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
1.1
เลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
-แย้มฟ้า เป็นคำที่ใช้ง่ายที่มีรูปคำงาม เสียงไพเราะ มีความหมายดี และให้ภาพที่ชัดเจนว่ากรุงรัตนโกสินทร์เผยโฉมเด่นอยู่บนท้องฟ้า
1.2
การเลือกสรรคำที่มีเสี
อ่านต่อ...
ความรู้เพิ่มเติม
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมาเพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลอง
อ่านต่อ...
ตัวอย่างคำศัพท์ที่น่าสนใจ
๒.อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา
สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร เจิดหล้า
บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง
สิงหาสน์
(สิงห+อาสน์) ที่นั่งแห่งผู้มีอำนาจดังราชสีห์ คือ พระที่นั่งเจ้าแผ่นดิน
บรรเจิดหล้า
งามในโลก
เพรง
เก่า ก่อน
บังอบาย
ปิดทางไปสู่ความชั่ว
เบิกฟ้า
เปิดทางไปสู่ความดี
ฝึกฟื้นใจเมือง
ฟื้นฟูจิตใจชาวเมืองให้พ้นจากความทุกข์
อ่านต่อ...
ข้อคิดที่ได้จากนิราศนรินทร์คำโคลง
๑.พระบารมีของพระมหากษัตริย์
นั้นเกิดแต่การบำเพ็ญกุศลทั้งในกาลก่อนและกาลปัจจุบัน
๒. ศิลปะการก่อสร้างที่ประณีตงดงาม
ย่อมเป็นสิ่งดลใจให้กวีสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีตไปด้วย
๓. ความห่วงใยหวงแหนอันเนื่องมาจากความรักของมนุษย์ เมื่อเกิดขึ้นกับคนที่มีอารมณ์กวี ย่อมจรรโลงใจให้แสดงออกซึ่งงานสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ป
อ่านต่อ...
เนื้อเรื่องย่อ
นิราศนรินทร์คำโคลง
เริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกว่าถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นรำพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่เดินทางผ่านไปโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ออกเดินทางจากคลองขุด ผ่านวัดแจ้ง คลองบางกอก (ใหญ่) วัด
อ่านต่อ
ประวัติผู้แต่ง
ประวัติของนายนรินทร์นั้น
ไม่เป็นที่ทราบกันแน่นอน แต่เดิมทีนายนรินทร์มีชื่อว่า "นายทองอินทร์" (อิน) ซึ่งได้รับราชการเป็นมหาดเล็ก ฝ่ายพระรับราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร หรือว่า เป็นที่รู้จักกันในนามบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ นั้นคือ "นายนรินทรธิเบศร์" (อิน) นายนรินทร์เป็นโอรสกรมขุนอินทรพิทักษ์์ (พระราชโอรสพระเจ้ากรุง
อ่านต่อ...
จุดมุ่งหมาย
นิราศนรินทร์คำโคลง
นี้ถูกประพันธ์โดยนายนรินทรธิเบศร์(อิน)
เมื่อตามเสด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถางและชุมพร โดยเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นจึงรำพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป ในนิราศนี้มีการคร่ำครว
อ่านต่อ...
ลักษณะคำประพันธ์
นิราศนรินทร์คำโคลง
แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทร่ายสุภาพ จำนวน ๑ บท และโคลงสี่สุภาพจำนวน ๑๔๓ บท
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพแต่งเป็นวรรค วรรคละประมาณ ๕ คำ หรือมากกว่านั้น และจะแต่งให้ยาวกี่วรรคก็ได้ แต่สามวรรคสุดท้ายก่อนที่จะจบบทจะต้องมีฉันทลักษณ์เป็นโคลงสองสุภาพเสมอ
ส่วนการสัมผัสนั้นคำสุดท้ายของวรรคหน้าจะสัมผัสกับคำที่ ๑
,
๒ หรือ ๓ ของวรรคต่อไปแต่ถ้าคำ
อ่านต่อ...
ความเป็นมาของนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
แต่งขึ้นโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) มหาดเล็กหุ้มแพร รับราชการวังหน้าในสมัยรัชกาลที่ ๒ นายนรินทรธิเบศร์แต่งนิราศเรื่องนี้ขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จยกทัพหลวงไปปราบพม่าซึ่งยกลงมาที่เมืองถลางและชุมพร โดยเริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นจึงรำพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่ผ่านไป นิราศเรื่องนี้นับว่าเป็นนิราศที่มีชื่อเสียงเรื่องห
อ่านต่อ...
บทความที่ใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)